โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่ รักสุขภาพ กีฬา ลดน้ำหนัก การดูแลสุขภาพเบื้องต้น วิธีดูแลสุขภาพ โรคอ้วน

โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่

ความสุขในการกินของคนเรา สามารถทำให้เกิด ภาวะเมแทบอลิกซินโดรมไม่จำเป็นจะต้องพบในผู้ที่เป็นโรคอ้วนเสมอไป ในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันในเลือดสูง มีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ทั้งสิ้น แต่ผู้ที่เป็นโรคอ้วน ซึ่งจะวัดจากน้ำหนักและค่าดัชนีมวลกายเป็นสำคัญ โดยเฉพาะผู้ที่อ้วนลงพุงมีความเสี่ยงมากกว่า

โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่ รักสุขภาพ กีฬา ลดน้ำหนัก การดูแลสุขภาพเบื้องต้น วิธีดูแลสุขภาพ โรคอ้วน
โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่

นอกจากนี้การรักษาจะเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดน้ำหนัก รวมถึงการทานยาก่อน หากไม่เป็นผลแพทย์เฉพาะทางจะพิจารณาให้เข้ารับการผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดมักได้ผลดีในกรณีที่ผู้ป่วยมีโรคอ้วนร่วมด้วย เพราะช่วยให้สุขภาพแข็งแรง มีรูปร่างที่เหมาะสม ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง

โรคอ้วน เป็นสาเหตุหลักจริงหรือไม่

โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่ รักสุขภาพ กีฬา ลดน้ำหนัก การดูแลสุขภาพเบื้องต้น วิธีดูแลสุขภาพ โรคอ้วน
โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่

โรคอ้วน เรียกได้ว่าเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิด ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) คือ ภาวะที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารของร่างกายที่ผิดปกติไป ทำให้เกิดปัญหาเรื่องความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันสูง ซึ่งต่อมาภาวะเหล่านี้จะส่งผลให้มีปัญหาต่อหลอดเลือดและหัวใจ  เกิดหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาตได้ในที่สุด

ซึ่งภาวะเมแทบอลิกซินโดรมนี้มักพบในผู้ป่วยที่ไขมันในช่องท้องมากขึ้น หรือที่เราเรียกว่า อ้วนลงพุง (Central Obesity) ซึ่งไขมันเหล่านี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบ ความสมดุลของฮอร์โมนที่ผิดปกติ รวมถึงการออกฤทธิ์ของอินซูลินทำได้ไม่ดี (Insulin Resistance) ทำให้เกิดเบาหวานและอาการต่าง ๆ สิ่งสำคัญในการรักษาภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) คือ การแก้ปัญหาโรคอ้วนและภาวะดื้อต่ออินซูลินไปพร้อมกับการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด

โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่ รักสุขภาพ กีฬา ลดน้ำหนัก การดูแลสุขภาพเบื้องต้น วิธีดูแลสุขภาพ โรคอ้วน
โรคอ้วน เกิดจากความสุขในการกินจริง ๆ หรือไม่

ปัญหา โรคอ้วน อ้วนลงพุง รอบเอวที่มากเกินไป ตลอดจนระบบเผาผลาญไม่ดีดังเดิม ทั้งหมดนี้อาจเป็นสัญญาณเตือนของภาวะเมแทบอลิกซินโดรมที่นำไปสู่ความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ อาทิ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และอัมพาต (Stroke) เป็นต้น ดังนั้นการรู้เท่าทันสาเหตุ หมั่นสังเกตความผิดปกติ และดูแลใส่ใจร่างกายอย่างถูกต้องจะช่วยลดความเสี่ยงจากภาวะเมแทบอลิกซินโดรม

สาเหตุหลักของภาวะเมแทบอลิกซินโดรม ได้แก่ โรคอ้วนโดยเฉพาะอ้วนลงพุง นำไปสู่ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันดีในเลือดต่ำ รวมถึงโรคหัวใจและหลอดเลือด

ขอบคุณภาพประกอบ : cigna.co.th

#รักสุขภาพ #กีฬา #ลดน้ำหนัก #การดูแลสุขภาพเบื้องต้น #วิธีดูแลสุขภาพ #โรคอ้วน

Share this post